สัตว์เลี้ยง

ยา สัตว์

ยา สัตว์

หัวข้อแนะนำ

ยา สัตว์  แผนกยาสัตว์ของเราเป็นผู้นําระดับโลกที่ได้รับความไว้วางใจในด้านการรักษาโรคสัตว์ ทุ่มเทเพื่อสุขภาพและสุขภาวะที่ดีของสัตว์ มุ่งมั่นต่อลูกค้าที่เราให้บริการและสนับสนุน ความมุ่งมั่นนั้นเริ่มต้นด้วยความทุ่มเทจากพนักงานที่หลากหลายของเรา เราคือทีมมืออาชีพระดับโลกที่ทํางานร่วมกัน เพื่อสร้างความแตกต่างในเชิงบวกในด้านการดูแลสัตว์และการจัดหาอาหารสำหรับชาวโลก เปลี่ยนแนวคิดให้เป็นเทคโนโลยีและเทคโนโลยีเป็นโซลูชัน ทั่วทั้งศูนย์นวัตกรรมระดับภูมิภาคของเรา เราพัฒนาแพลตฟอร์มและแอปพลิเคชันที่ทันสมัยและครบวงจร ซึ่งช่วยให้ลูกค้าของเราพัฒนาการจัดการสัตว์และผลลัพธ์ด้านสุขภาพผ่านข้อมูลและข้อมูลเชิงลึก เราได้สร้างนวัตกรรมมานานกว่า 60 ปี และวันนี้เราดูแลความต้องการของลูกค้าในกว่า 100 ประเทศ

กรมวิทย์ดันห้องแล็บตรวจความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรม ยา สัตว์

ยา สัตว์  กรมวิทย์ดันห้องแล็บตรวจความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรมรักษาราชการแทนอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวว่า ข้อมูลการทดสอบความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรม ที่ทำให้เกิดการกลายพันธุ์ทั้งในเซลล์ร่างกายและเซลล์สืบพันธุ์ของมนุษย์ มีความสำคัญในการพิจารณาออกกฎระเบียบ การอนุมัติและขึ้นทะเบียนยาฆ่าแมลง ยารักษาโรค เครื่องมือแพทย์ และผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ รวมถึงกำหนดค่ามาตรฐานสำหรับระดับการสัมผัสที่ยอมรับได้ในอากาศ น้ำ และอาหาร ซึ่งในประเทศไทย อย.ได้กำหนดแนวทางการขออนุญาตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ประเภทยาพัฒนาจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ โดยให้มีข้อมูลการศึกษาผลิตภัณฑ์ ด้านความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรมในหลอดทดลอง เพื่อประกอบการพิจารณาขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ ซึ่งแนวทางการประเมินความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรมในหลอดทดลอง จะต้องดำเนินการทดสอบ 3 ระดับ ได้แก่ การทดสอบในระดับยีน เช่น การทดสอบการก่อกลายพันธุ์ในเชื้อแบคทีเรีย ระดับโครโมโซม เช่น การทดสอบการเกิดไมโครนิวเคลียส และระดับดีเอ็นเอ จึงจะสามารถนำข้อมูลมาใช้ในการประเมินความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรมได้อย่างรอบด้าน

นพ.ยงยศ กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีห้องปฏิบัติการทดสอบด้านความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรมในหลอดทดลองครบทั้ง 3 ระดับ ที่ผ่านการรับรองตามระบบคุณภาพ OECD GLP หรือ OECD Good Laboratory Practice คือ ระบบคุณภาพที่ช่วยจัดการห้องปฏิบัติการให้มีมาตรฐาน นิยมใช้ห้องปฏิบัติการที่เน้นทางด้านการทดสอบความปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ได้ทดลองในมนุษย์ ตามหลักเกณฑ์ของภาคีเครือข่ายองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development ; OECD) ดังนั้น สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมในการดำเนินการทดสอบด้านความเป็นพิษต่อระบบพันธุกรรมจึงได้พัฒนาการทดสอบดังกล่าวให้สอดคล้องตามระบบคุณภาพ OECD GLP และเมื่อวันที่ 13 ก.ย.ที่ผ่านมา ได้รับการรับรองสาขาความชำนาญห้องปฏิบัติการทดสอบการก่อกลายพันธุ์ (Mutagenicity studies) ตามหลักการ OECD GLP เป็นแห่งแรกของประเทศไทย

“สถาบันวิจัยสมุนไพร พร้อมให้บริการทดสอบการก่อกลายพันธุ์อย่างครบวงจร ในเภสัชภัณฑ์ สารเคมีกำจัดศัตรูพืช วัตถุเจือปนอาหารคน วัตถุเจือปนอาหารสัตว์เครื่องสำอาง ยาสัตว์ สารเคมีอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการทดสอบความปลอดภัยจากห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน สามารถนำไปขึ้นทะเบียนจำหน่ายได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ช่วยผู้ประกอบการประหยัดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาการขึ้นทะเบียนในต่างประเทศ ไม่ต้องตรวจซ้ำ จำหน่ายได้ในประเทศสมาชิก OECD มากกว่า 50 ประเทศทั่วโลก” นพ.ยงยศกล่าว

จับผู้ค้าขายอาหารสัตว์หมดอายุ-ยาไม่มีทะเบียน

เจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ พร้อมเจ้าหน้าที่ตำรวจ สน.ธรรมศาลา เข้าค้นร้านขายอาหารสัตว์ และขายยารักษาสัตว์ บริเวณตลาดสนามหลวง 2 ถนนเลียบคลองทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา หลังได้รับร้องเรียนว่า ร้านค้าหลายแห่งขายอาหารสัตว์หมดอายุในราคาถูก และขายยาไม่มีทะเบียนโดยเจ้าหน้าที่ตรวจค้น 16 ร้านค้า พบผู้กระทำผิด 2 ร้าน แบ่งเป็นการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 จำนวน 1 คน คือขายยาสัตว์โดยไม่ได้รับอนุญาต และขายยาสัตว์ไม่มีทะเบียนส่วนร้านที่ 2 ความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2558 จำนวน 1 คน

คือขายอาหารสัตว์เสื่อมคุณภาพหรือหมดอายุ ยึดของกลาง 28 รายการ มูลค่าประมาณ 100,000 บาทอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เปิดเผยว่า นายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สั่งการให้กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ประสานทุกจังหวัดประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนในพื้นที่ให้ได้รับทราบถึงพิษที่รุนแรงถึงชีวิตของปลาหมึกบลูริง เป็นการเร่งด่วนแล้วทั้งนี้ ขอให้นักวิชาการที่ศึกษาด้านชีววิทยาสัตว์ทะเลที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับหมึกบลูริง จัดทำสื่อการเรียนรู้และข้อมูลประกอบเพื่อการประชาสัมพันธ์ให้กับนักท่องเที่ยวและประชาชนทุกคนทราบ หลังพบหมึกบลูริงเสียบไม้ปิ้งขายในตลาดนัด จังหวัดปทุมธานี

และกระทำความผิดตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มาตรา 12 ผลิตยาโดยไม่ได้รับอนุญาต มีโทษตามมาตรา 101 จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 10,000 บาท และมาตรา 72 (4) ขายยาที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียน มีโทษตามมาตรา 122 จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เจ้าหน้าที่จึงได้ยึดอาหารสัตว์และยาสัตว์ พร้อมเก็บตัวอย่างของกลางดังกล่าวส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อดำเนินการตามขั้นตอนกฎหมายต่อไปอธิบดีกรมปศุสัตว์กล่าวเพิ่มเติมว่า การปราบปรามผู้กระทำความผิดผ่านสื่อออนไลน์ที่ดำเนินการ โดยสารวัตรปศุสัตว์ไซเบอร์ เพื่อปกป้องประชาชน รวมถึงเกษตรกรให้ได้รับสินค้าและบริการทางปศุสัตว์ที่มีมาตรฐาน ได้รับการตรวจสอบที่ถูกต้องตามกฎหมาย ซึ่งกรมปศุสัตว์ได้ให้ความสำคัญต่อการให้บริการด้านสินค้าและบริการ ที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์อย่างมากเนื่องจากในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงด้านการผลิต การขายสินค้าและบริการด้านปศุสัตว์ทางสื่อออนไลน์มากขึ้น อาจเป็นช่องทางให้พบผู้กระทำผิดมากขึ้น ดังนั้นการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อตรวจสอบมีความจำเป็นอย่างยิ่ง  ยา สัตว์